Facebook Pages [ตอนที่ 17] เขียน HTML เบื้องต้น
แฟนเพจอย่างที่บอกไปแล้วว่าเราสามารถทำหน้าแท็บบนแฟนเพจ ให้เป็นเหมือนกับหน้าเว็บไซท์ทั่วๆไปได้ด้วยการใส่โค้ด HTML หรือเขียนโดยใช้ HTML Editor
อย่างที่บอกไปแล้วว่าเราสามารถทำหน้าแท็บบนแฟนเพจ ให้เป็นเหมือนกับหน้าเว็บไซท์ทั่วๆไปได้ด้วยการใส่โค้ด HTML หรือเขียนโดยใช้ HTML Editor
วิธีนี้คือการกำหนดให้คลิกเข้ามาที่แท็บ แล้วสดงผลเป็นภาพ แต่จะนำภาพมาใส่ได้จำเป็นต้องมีโฮสสำภาพฝากภาพก่อนนะครับ
ปกติถ้าคลิกที่แท็บจะเป็นการนำเข้าสู่เนื้อหาภายในแท็บ แต่เราสามารถกำหนดให้คลิกแล้ว สามารถลิงค์ไปยังหน้าเว็บอื่นๆ ได้
สำหรับแอพ Static Iframe Tab จะมีพื้นที่อันว่างเปล่ามาให้ใช้ฟรีๆ แต่ข้อมูลทุกอย่างรวมทั้งงานออกแบบต้องเอามาใส่เองหมด
ถ้าสร้างแฟนเพจแล้วเผยแพร่เนื้อหาลงธรรมดาๆ ไม่จำเป็นต้องมีทักษะความรู้อะไรเลยก็ได้ เพราะมันเหมือนกับการเล่นเฟสบุ๊คเฉยๆ
ในหลายๆเพจปกติแอดมินจะไม่แสดงตัวอยู่แล้วว่าเจ้าของเพจคือใคร ยกเว้นแต่ว่า “อยากจะให้คนอื่นรู้” เอาไว้ยืนยันความน่าเชื่อถือของงานบริการ
การจำกัดอายุของผู้เข้าชมแฟนเพจ ก็แล้วแต่ว่าแฟนเพจคุณเป็น “เพจประเภทไหน” ตรงนี้จะสำคัญมาก ถ้าคุณคิดว่าเพจคุณมีเนื้อหาที่สุ่มเสี่ยง
ทุกสถิติเกี่ยวกับการเข้าชมและการเผยแพร่แฟนเพจ ระบบจะทำการเก็ข้อมูลไว้และวิเคราะห์ออกมาให้เช็ค จำนวนคนถูกใจ จำนวนคนเข้าถึง
สำหรับคนที่ใช้โปรไฟล์ควบคุมแฟนเพจ อยากจะเห็นอะไรที่มันมากขึ้นเกี่ยวกับแฟนเพจ ก็ใช้วิธีสลับหน้าไปเป็นโหมดของแฟนเพจ
ถ้าแฟนเพจมีปัญหาเช่น เกิดดราม่า หรือมีความกังวลว่าหากเปิดเพจไว้ตอนนี้ เพจจะมีความเสียหาย เราสามารถเลือกที่จะหยุดเผยแพร่
ฟีเจอร์ใหม่ที่เพิ่มเข้ามาได้ไม่นานคือ การให้ตอบกลับความคิดเห็นได้ ซึ่งแต่ก่อนจะใช้วิธีติดแท็ก เวลาตอบกันไปตอบกันมามันก็สับสนพอสมควร
การดึงคนมาร่วมเป็นแอดมิน ถ้าไม่อยากให้มีปัญหาในภายหลังควรจะรับแต่คนที่คุณวางใจ หรือถ้ารับคนที่ไม่รู้จักไม่ควรรับมาทีละมากๆ